บทความ

20 ข้อ ที่ควรรู้และปฏิบัติก่อนอายุ 40

1. ไม่ต้องตั้งใจเรียนมากไป เอาแค่พอใช้ได้ก็พอ เพราะโลกแห่งความเป็นจริง วัดกันที่ผลงาน ไม่ใช่ที่เกรด 2. การทำกิจกรรมในรั้วมหาวิทยาลัยน ั้นสำคัญมาก พอๆ กับการคร่ำเคร่งหน้าตำราเรียน 3. เลือกงานที่เราชอบนั้นใช่ แต่อย่าลืมด้วยว่า อาชีพนั้นสามารถเลี้ยงดูตัวเราไ ด้จริงหรือเปล่า ถ้าไม่ใช่ ก็อย่าหลอกตัวเอง 4. เมื่อถึงวัยทำงาน ใครเก็บเงินก่อน รวยเร็วกว่า และสิ่งสำคัญที่ต้องจำไว้ คือ "ชีวิตที่ไม่มีหนี้ คือชีวิตที่ประเสริฐที่สุด" 5. หาเป้าหมายในชีวิตให้เจอโดยเร็ว ที่สุด เพราะมันจะเป็นเครื่องนำทางของค ุณ ในชาตินี้ตลอดไป 6. ซื้อบ้านก่อน ที่จะซื้อรถ เพราะบ้านมีแต่จะมีมูลค่าเพิ่มข ึ้น รถมีแต่มูลค่าลดลง ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่า รถ=ลด 7. ดอกเบี้ยบ้านนั้นมหาโหดมาก รีบใช้ให้หมดโดยเร็วพลัน ก่อนที่จะแก่ แล้วผ่อนไม่ไหว 8. การเก็บเงินเป็นแค่บันไดขั้นแรก สู่ความร่ำรวย แต่ขั้นต่อมา คือ ต้องรู้จักลงทุน 9. อย่าเป็นศัตรูกับใครก็ตามบนโลกใ บนี้ เพราะคุณจะไม่มีทางรู้ว่า วันหนึ่ง เขาอาจจะยิ่งใหญ่มาก จนกลับมาทำร้ายคุณก็เป็นได้ 10. คอนเน็คชั่นหรือสายสัมพันธ์เป็น สิ่งที่สำคัญมากๆ ต่อให้เก่งแค่ไหน ก็สู้กา

5 จุดอ่อนที่ทำแผนเกษียณล่ม

1. สินเชื่อบ้าน  หนทางที่ดีที่สุดไม่ให้สินเชื่อประเภทนี้ ทำลายความฝันสร้างความมั่นคงรองรับวัยเกษียณ คือต้องรีบชำระเงินกู้ซื้อบ้านให้หมดโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ยิ่งขจัดหนี้ประเภทนี้ได้เร็ว จะช่วยให้เกิดผลดีต่อแผนการเกษียณก่อนอายุ 40 เพราะหมายถึงกระแสเงินสดหมุนเวียนยิ่งเป็นบวก หรือไม่ติดลบกลางคันจนขวางทางนำไปสุ่อิสรภาพทางการเงิน 2. ที่พักอาศัยที่ใช้งบเกินความจำเป็น บ้านยิ่งมีขนาดใหญ่ มีห้องกับเนื้อที่มากเกินความจำเป็น หรือเกินความต้องการใช้สอยที่แท้้จริง จะเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายการดูแลรักษาให้กับเจ้าของบ้านมากขึ้น ดังนั้นในระยะยาว การหาบ้านพักอาศัยที่เหมาะสมกับฐานะความเป็นอยู่ จะช่วยทำให้งบค่าใช้จ่ายในการดูแลบ้านน้อยลง ไม่รบกวนเงินก้อนรองรับขีวิตเกษียณ 3.  ภาระหนี้ผ่อนรถ ไม่ใช่แค่สินเชื่อบ้านที่เป็นปัญหาคาราคาซังทางการเงินสำหรับคนรุ่นใหม่ วัยทำงาน ที่อยากเกษียณเร็วเท่านั้น สินเชื่อพื่อซื้อรถยนต์ก็เป็นอีกอุปสรรคหนึ่งที่ควรระวัง เพราะการคิดเปลี่ยนรถผ่อนรถใหม่คันแล้วคันเล่าหรือปีแล้วปีเล่า ไม่ใช่เรื่องดีหรือประหยัดรายจ่ายเลย แต่จะกลับกาลายเป็นภาะเหมือนดินพอกหางหมูในอนาคต 4. ทำประกันไ

หนี้จากการผ่อนสินค้า

รูปภาพ
เห็นถามกันมาเยอะ...ถามกันจัง...ถามมาตลอดทุกปี...ถามไม่หยุดไม่หย่อน วันนี้ผมจะมาไขปัญหานี้ให้กระจ่างกันไปเลย คำถามส่วนใหญ่มักจะถามกันว่า - ผมผ่อน เครื่องซักผ้า ไว้แล้วจ่ายต่อไม่ไหว เขาจะมายึดเอาของคืนไหมครับ - เคยผ่อน โน๊ตบุ๊ค เอาไว้ แต่ได้เอาไปขายแล้ว แล้วตอนนี้ก็ไม่ได้ผ่อนต่อ ทางเจ้าหนี้บอกว่า เป็นคดีอาญา ต้องติดคุก จริงไหมคะ - ใช้ชื่อของตัวเองทำสัญญาผ่อน TV ให้กับเพื่อนที่อยู่ข้างๆห้องเช่า แต่ตอนนี้เพื่อนหนีหนี้ไปแล้ว เจ้าหนี้เขาโทรมาทวงเอา TV คืน แต่เพื่อนก็ย้ายห้องพร้อม TV หนีไปไหนก็ไม่รู้ ทางเจ้าหนี้ก็บอกว่าถ้าไม่เอา TV มาคืน จะเอาตำรวจมาจับผม จะทำยังไงดีครับ - ผ่อนตู้เย็นมาได้ 3 เดือนแล้วค่ะ แต่ตอนนี้ตกงานไม่มีเงินผ่อนต่อ คนโทรมาทวงบอกว่าเป็นสัญญาเช่าซื้อ เขาจำเป็นต้องมายึดเอาของไป ทำได้ด้วยหรือคะ จะอธิบายให้ฟังละนะ สัญญาเช่าซื้อ ...มีความหมายว่า ลูกค้าไปเอาของๆเขามาใช้ ในลักษณะของการเช่าของ และสัญญาว่าจะจ่ายชำระเงินค่าสินค้านั้นๆ โดยการผ่อนเป็นงวดๆพร้อมด้วยดอกเบี้ยตามข้อตกลง จนกว่าจะครบตามมูลค่าของสินค้านั้นๆ จึงจะสามารถโอนกรรมสิทธิ์ของสินค้านั้นๆ ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของลูก

รู้ทันกฏหมายหนี้

รูปภาพ
การไปศาลนัดแรก ถ้าเป็นการนัดสืบพยานนัดแรก ถ้าตกลงกับทางเจ้าหนี้ไม่ได้ ห้ามกลับโดยที่ไม่พบศาลก่อนเด็ดขาดครับ ทนายโจทย์จะอ้างว่าศาลไม่ขึ้นบัลลังค์ไม่ต้ิองไปฟังยังไงบอกว่าขอเจอศาลก่อน ตัวอย่างตัวเองขึ้นศาลท่านจะขึ้นช้าเพราะศาล 1 ท่าน ระหว่างเรารอในห้องพิจารณา ท่านต้องไปพิจารณาหลายคดีต่างห้องพิจารณาในวันเวลาเดียวกันด้วยครับ ช่วงระหว่างนี้ให้เจรจากันไปก่อนถ้าตกลงกันได้ ให้ทนายทำประนอมยอมความครับ แต่ถ้าตกลงกันไม่ได้หรือให้การสู้คดี ให้ทนายขอเลื่อนนัด ซึ่งทางทนายเป็นคนขอเ้ลื่อนเอง ทั้งโจทย์และจำเลยขอศาลเลื่อนนัดต่้อหน้าศาลในห้องพิจารณาเท่านั้นนะครับ หลังจากนั้นจะได้แบบหรือหนังสือขอเลื่อนคดี ตรงนี้แจ้งต่อเจ้าหน้าที่หน้าบัลลังค์ว่าต้องการขอสำเนา เผื่อจะได้ไม่หลงลืมและกันทางโจทย์ตุกติกในเรื่องคดีและแนบยื่นใบลามาศาลในนัดหน้าครับ ตัวอย่างใบเลื่อนนัดคดีที่ผมขึ้นศาลครั้งแรก ตกลงไม่ได้เจอกันนัดสอง ไปศาลต้องได้กลับมา ห้ามกลับมาตัวเปล่า   ถ้าตกลงกันได้หรือนัดต่ิอไปตกลงกันได้ก็มีแบบประนอมยอมความและผู้พิพากษาจะอ่านให้ฟังถ้าโจทก์จำเลยไม่ค้าน ก็ถือว่าจำเลยต้องทำตามนะครับเพราะท่านได้พิพากษาไปแล้วถ

เกณฑ์การซื้อที่ดินของ ธ ก ส

เกณฑ์นี้สามารถใช้เปนแนวทางในการซื้อที่ดินของเราได้นะครับ 2. ลักษณะที่ดิน หรือที่ดินพร้อมอาคาร ที่ธนาคารต้องการ 2.1 ทำเลที่ตั้งอยู่ในย่านชุมชนหรือย่านธุรกิจ ติดถนนสาธารณะ การจราจรสะดวกเหมาะแก่การ ให้บริการกับลูกค้า 2.2 ขนาดและสภาพที่ดินเหมาะสมกับการจัดวางตำแหน่งอาคารตามแบบที่ธนาคารกำหนด 2.3 มีระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ครบถ้วน ได้แก่ไฟฟ้า โทรศัพท์ ประปา 2.4 สภาพแวดล้อมมีความปลอดภัยจากด้านต่างๆ เช่น การจราจร โจรกรรม อัคคีภัย และภัยธรรมชาติ 2.5 ที่ดินไม่ติดภาระจำยอมหรือภาระผูกพัน สามารถโอนกรรมสิทธิ์ทันทีที่ธนาคารตกลงซื้อ 2.6 ที่ดินไม่อยู่ในเขตที่ถูกเวนคืน หรืออยู่ระหว่างกำลังเวนคืน หรือที่ดินไม่อยู่ ระหว่างการพิพาท 2.7 ไม่มีลำรางสาธารณะหรือคูคลองผ่าน 2.8 กรณีที่ดินติดถนนทางหลวง จำเป็นต้องสร้างทางเชื่อมและลักษณะตำแหน่งที่ตั้งต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ กรมทางหลวงอนุญาตได้ เอกสารหมายเลข 03-2 2.9 ที่ดินไม่อยู่ติดหรือใกล้กับสถานที่เหล่านี้ คือ สุสาน เมรุเผาศพ ปั๊มน้ำมัน ร้านจำหน่ายแก๊สหุงต้ม โรงมัน โรงฆ่าสัตว์ โรงสีข้าว โรงเลื่อย อู่ซ่อมเครื่องจักรยนต์ ทางโค้ง ทางแยก ไม่อยู่ในทำเลที่มีการเซาะกร่อนพังทลาย

เงินได้เลี้ยงชีพหลังเกษียณจากการออมผ่านแหล่งเงินออมระยะยาว

ในขณะที่คนไทยมีชีวิตยืนยาวมากขึ้น  สิ่งที่เป็นความกังวลใจก็คือ เงินได้เลี้ยงชีพสำหรับชีวิตหลังเกษียณ  การออมสะสมในวัยทำงานจึงเป็นสิ่งจำเป็น      สำหรับผู้ที่ต้องการวางแผนการออมในวันนี้     ประเด็นคำถามที่สำคัญ   ก็คือ ออมอย่างไรจึงเพียงพอต่อการเลี้ยงชีพในวัยหลังเกษียณ   บทศึกษานี้  ใช้อัตราทดแทนรายได้ร้อยละ  50 *  เป็นดัชนีชี้วัดความเพียงพอ    และประมาณอัตราทดแทนรายได้ที่ผู้ออมจะได้รับภายหลังเกษียณอายุภายใต้กรณีการออมต่าง ๆ  เพื่อเป็นแนวทางการวางแผนการออม      ทั้งนี้   อัตราทดแทนรายได้  หมายถึงสัดส่วนเงินได้เลี้ยงชีพที่ผู้ออมจะได้รับในวัยหลังเกษียณอายุเทียบต่อรายได้เฉลี่ยในช่วงก่อนเกษียณอายุ            ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราทดแทนรายได้ที่จะได้รับในอนาคตมีหลายปัจจัย    ที่สำคัญๆ  ได้แก่   อัตราออม   (ในบทศึกษานี้ หมายความรวมถึงอัตราเงินออมของผู้ออมเอง  และอัตราเงินออมสมทบที่ผู้ออมได้รับจากนายจ้าง  และ/หรือรัฐบาล)     จำนวนปีของการออม    นโยบายลงทุนซึ่งกระทบต่ออัตราผลตอบแทน  จำนวนปีที่จะใช้เงินออมหลังเกษียณอายุ   การบริหารเงินออมในส่วน

สาระน่ารู้เกี่ยวกับ กฎหมาย อาคารชุด

สวัสดีครับ  ผมขอนำเสนอ  สาระน่ารู้เกี่ยวกับ กฎหมายอาคารชุด   ตามพระราชบัญญัติ อาคารชุด ฉบับ ล่าสุด ปี พ.ศ. 2552  นะครับ 1.  มาตรา 18   เจ้าของห้องชุดต้องช่วยกันออกค่าใช้จ่าย สำหรับทรัพย์ส่วนกลาง   เจ้าของร่วมต้องออกค่าใช้จ่ายที่มีไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกันและค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดูแลรักษาและการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์ส่วนกลาง ตามอัตราส่วนที่เจ้าของร่วมแต่ละคนมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนกลาง  ค่าใช้จ่าย เช่น ค่าใช้จ่ายในการเก็บขยะ ค่าใช้จ่ายการใช้กระแสไฟฟ้าส่วนที่ให้ความสว่างแก่อาคาร (นอกห้องชุด) เช่น ทางเดิน ที่จอดรถ บันได ทางเดิน ค่าจ้างพนักงานทำความสะอาด พนักงานรักษาความปลอดภัย  2. มาตรา 18 / 1 บทลงโทษเจ้าของห้องชุดที่ไม่ชำระค่าใช้จ่ายส่วนกลาง “ในกรณีที่เจ้าของร่วมไม่ชำระเงินตามมาตร 18 ภายในเวลาที่กำหนด ต้องเสียเงินเพิ่มในอัตราไม่เกินร้อยละสิบสอง ต่อปี ของจำนวนเงินค้างชำระ โดยไม่คิดทบต้น ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในข้อบังคับ เจ้าของร่วมที่ค้างชำระเงินตามมาตรา 18 ตั้ง แต่ 6 เดือนขึ้นไปต้องเสียเงินเพิ่ม ในอัตราไม่เกินร้อยละยี่สิบต่อปี  และอาจถูกระงับการให้บริการส่วนรวมหรือการใช้ทรัพย์ส่วนกลางตาม