บทความ

EasyBuy ทวงหนี้โหด

การทวงหนี้ของ Easy Buy ทวงหนี้โหด VS ลูกหนี้ดุ ! เพิ่มเริ่มหยุดจ่าย เลยไป แค่ 4 วัน.... แค่ 4 วันจริงๆนะ อีทซีควายโทรยิกๆ โทรมาทุกวัน ถามว่าเมื่อไหร่จะจ่าย ? จ่ายเข้ามาหรือยัง ? จ่ายได้มั้ย พรุ่งนี้จ่ายเลยนะ ถามอยู่นั้นแหละเราก็บอกไปว่าไม่มีเงินจ่ายให้ไม่ได้ เอาไว้เตรียมหางานใหม่อยู่... ถ้ายังไม่มีก็คือยังไม่มี... ปกติจะไม่ยีระกับพวกนี้เท่าไหร่ เพราะเป็นหน้าที่ของเค้า... พอมาถึงเมื่อเช้า แค่เข้าห้องน้ำอยู่ โทรเข้ามามือถือ รับไม่ทัน.... มันโทรไปที่ออฟฟิตที่ทำงานเก่าเลย โทรไปถามรีเซปชั่น ว่าบริษัทนี้อยู่หรือไม่ คนนี้มีชื่อนี้หรือเปล่า สารพัดที่มันจะถาม (บริษัทผมปิดกิจการไปแล้ว) ที่ผมทราบเพราะว่าเจ้านายเก่าของผมติดต่อมา บอกว่าฝ่ายอาคารโทรมา... ความที่เราเป็นคนที่ ขี้เกรงใจแบบสุดๆ และเคารพนับถือต่อ นายเก่าเรามาก... จาก ฉายา อาทิตย์สีขาว เปลี่ยนร่างเป็น เบื่อโลก ซอย 8 ผมจึงจัดการโดยการโทรไปที่ สำนักงานใหญ่ อีทซิควาย ทันที (ตอนโทรไปเข้าระบบพึ่งรู้ว่า มีในส่วนร้องเรียนบริการ เกี่ยวกับ พนักงาน อะไรหลายอย่างด้วยละครับ) โทรไป รอสายนานมาก... เจ้าหน้าที่เกย์ : ติดต่อเรื่องอะไรคร

ข้อเสียของการ“จ่ายหยอด”เพื่อเดินบัญชีหนี้บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด

ข้อเสียของการ“จ่ายหยอด”เพื่อเดินบัญชี เมื่อลูกหนี้ทำการ“หยุดจ่าย”ในการชำระหนี้คืนให้กับเจ้าหนี้แล้ว มุขคำถามทวงหนี้แบบเดิมๆ ที่ใช้กันมาตลอดกับลูกหนี้ทุกคน และทุกครั้ง ในการโทรศัพท์มาทวงหนี้ก็คือ -               ที่ผ่านมาติดขัดปัญหาอะไร ?... ทำไมถึงไม่จ่าย ? -               เดือนนี้พอจะมีจ่ายให้ได้บ้างไหม ? -               จะจ่ายให้ได้เมื่อไหร่ ? -               ถ้าไม่จ่ายก็จะโทรมาถามแบบนี้เรื่อยๆนั่นแหละ -               วันนี้ คุณไปจ่ายให้สักงวดก่อนได้ไหม ?... แต่ต้องห้ามเกินเย็นวันนี้นะ ไม่งั้นทางเราจะยกเลิกบัญชีของคุณ -               คุณต้องไปจ่ายเงินเข้ามาสักงวดนึงก่อนนะ แล้วทางเราถึงจะสามารถทำส่วนลดหนี้ให้กับคุณได้ หากคุณไม่จ่ายเงินเข้ามาก่อน ทางเราก็ไม่สามารถทำเรื่องลดยอดหนี้ให้กับคุณได้ -               ตอนนี้คุณพอจะมีเงินสักพันนึงไหม ? เอาไปจ่ายก่อนภายในวันนี้เลยนะ...ถ้ามีไม่ถึงพัน ก็จ่ายไปก่อนสักห้าร้อยก็ได้ หรือสามร้อยก็ได้...(โดยมักจะอ้างว่า)...เป็นการจ่ายเพื่อเดินบัญชี / จ่ายเพื่อรักษาบัญชี / จ่ายเพื่อรักษาประวัติ(จะได้ไม่ติด Blacklist) / จ่ายเพื่อเป็นการจ

หนี้บัตรเครดิต หมดอายุความ จำเลยต้องทำอย่างไร

เป็นเรื่องของสมาชิกคนหนึ่ง ซึ่งได้เป็นหนี้เซเทเลม ผ่านมา 11 ปี แลัวเพิ่งโดนฟ้อง (ขาดอายุความแน่ๆ)  สมาชิกท่านนั้นเห็นว่า ขาดอายุความ จึงรีบจัดเตรียม คำให้การ เพื่อเตรียมยื่นศาลไว้เป็นอย่างดี แต่ปรากฏว่า ...... เมื่อถึงวันที่ศาลนัด ทนายโจทย์ เห็นว่า คดีที่หมดอายุความ แต่ลูกหนี้ดันมา จึงรีบเสนอตัว จะถอนฟ้อง โดยให้เหตุผลว่า "จะได้ไม่ต้องมาหลายรอบ" ด้วยความที่สมาชิกท่านนั้นไม่รู้เท่าทันจึงได้ตกลง  และเซ็นในเอกสารที่หน้าบัลลังค์ ซึ่งก็ได้ ใบถอนฟ้องมา โดยเอกสารนั้นระบุว่า "  คดีนี้ โจทย์ไม่ประสงค์ดำเนินคดีกับจำเลยอีกต่อไปด้วยเหตุคดีขาดอายุความ จึงขอถอนฟ้อง และจำหน่ายคดีออกจากสารบบความของศาล ในการนี้โจทก์ค่าฤชาธรรมเนียมคืนกรณีพิเศษ  ขอศาลได้โปรดอนุญาต " ซึ่งความจริงแล้ว ควรจะยื่นคำให้การ เพื่อให้ศาลตัดสิน ออกมาเป็นคำพิพากษา อันเนื่องมาจาก 1. ถอนฟ้องครั้งนี้แล้ว อาจฟ้องได้อีก แต่หากได้คำพิพากษาก็จะไม่สามารถฟ้องใหม่ได้ 2. กรณีที่มีรายการในเครดิตบูโร สามารถนำคำพิพากษา ไปยื่นเพื่อเอาหนี้รายการนั้นออกไปได้  แต่ ใบถอนฟ้อง

อาชีพของคนไทยหลังเกษียณ

อาชีพของคนไทยหลังเกษียณ ------------------------------------ อายุของการเกษียณในสังคมไทย โดยเฉลี่ยจะอยู่ที่อายุ 60 ปี คนวัย 60 ยังคงแข็งแรง สมองยังคงสดใส ความจำ ยังดี และเป็นผู้มีไฟ อยากทำงาน จึงมีองค์กรจำนวนมากที่ต่ออายุผู้เกษียณออกไปเป็นรายบุคคล เนื่องจากบริษัทเสียดายประสบการณ์และองค์ความรู้ของเขาเหล่านั้น แต่ก็มีหลายบริษัทที่ต้องให้ผู้มีความรู้ ความสามารถ ต้องเกษียณ เพื่อเปิดโอกาสให้คนรุ่นถัดไปได้ขยับขึ้น ผู้เกษียณที่ยังมีไฟ ก็มีหลายสิ่งหลายอย่างที่สามารถทำได้ มีประโยชน์กับประเทศ กับสังคม รวมถึงยังมีความสามารถในการหารายได้ ประกอบอาชีพ โดยอาศัยประสบการณ์ที่สั่งสมมา ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับอาชีพที่ทำมาตลอดหรือไม่ก็ตาม . อาชีพที่แนะนำไว้เพื่อหารายได้สำหรับคนวัยเกษียณ -------------------------------------------------------------- แบบที่ 1 อาชีพที่เกี่ยวข้องกับความสามารถด้านวิชาชีพ งานที่เคยทำ ---------- เราทำงานมาทั้งชีวิต ย่อมมีประสบการณ์ มีความรู้ความสามารถ เมื่อเรายังมีแรง มีสมองที่ยีงสดใส ก็อาจรับงานที่ปรึกษาในธุรกิจที่เคยทำงาน หรือเป็นกรรมการบริษัท คอยให้คำแนะนำผู้บริหาร โดยใช้

อายัดเงินดือน โบนัส ค่าล่วงเวลา

ลูกหนี้เป็นหนี้บัตรเครดิตและสินเชื่อบุคคลรวมกันหลายแสนบาท ต่อมาโดนฟ้องคดีและศาลมีคำพิพากษาให้ลูกหนี้ชำระหนี้ อยากทราบขั้นตอนการถูกอายัดเงินเดือน และลูกหนี้สามารถจะส่งเงินเดือนที่ถูกอายัดได้เองหรือไม่ ตอบ 1. เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีแล้วเจ้าหนี้ตามคำ พิพากษาสามารถขออายัดเงินเดือนของลูกหนี้ได้ โดยเจ้าพนักงานบังคับคดีจะพิจารณา อายัดให้ ดังนี้ เงินเดือน อายัดให้ไม่เกินร้อยละ 30 ของอัตราเงินเดือน  ก่อนหักรายจ่ายอื่น ทั้งนี้ต้องมีเงินคงเหลือให้ลูกหนี้ไม่น้อยกว่า   2 0,000 บาท เงินโบนัส อายัดให้ไม่เกินร้อยละ 50 เบี้ยขยัน ค่าล่วงเวลา อายัดให้ไม่เกินร้อยละ 30 เงินตอบแทนกรณีออกจากงาน อายัดเต็มจำ นวนไม่เกินหนี้   ตามหมายบังคับคดี 2. เมื่อผู้รับคำสั่งอายัด (นายจ้าง) ได้รับคำสั่งอายัดของเจ้าพนักงาน   บังคับคดีแล้ว ต้องนำส่งเงินตามคำสั่งอายัดอย่างเคร่งครัด หากมีเหตุขัดข้อง ต้องแจ้งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ มิฉะนั้นนายจ้างอาจต้องรับผิดชำระหนี้ เสมือนเป็นลูกหนี้ตามคำ พิพากษา เท่ากับจำ นวนที่นายจ้างไม่ได้นำส่งเงิน ต่อเจ้าพนักงานบังคับคดี 3. ในกรณีลูกหนี้ประสงค์จะนำ

บ้านผ่อนอยู่เจ้าหนี้บัตรเครดิตยึดได้หรือไม่

เจ้าหนี้จะขอยึดที่ดินฯ ของลูกหนี้   ซึ่งติดจำนองธนาคาร หรือบุคคลอื่นได้หรือไม่ สามารถดำ เนินการได้ แต่ผลของการบังคับคดี ถ้าเจ้าหนี้จำ นองขอรับชำ ระหนี้บุริมสิทธิ (ขอรับชำ ระหนี้จำ นอง) ต่อศาลและศาลมีคำสั่งอนุญาตเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยึดภายหลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้วจะจ่ายชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้จำ นองเป็นอันดับแรก ถ้ามีเงินเหลืออีก จึงจะจ่ายให้เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ เว้นแต่เจ้าหนี้ผู้รับจำ นอง จะแถลงขายโดยการจำ นองติดไปเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์นั้น ภายหลังหักค่าใช้จ่ายแล้ว จึงจะจ่ายให้กับเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ ถ้าลูกหนี้มีชื่อเป็นเจ้าของร่วม ก็จะโดนฟ้องบังคับคดีเช่นกันครับ ทางที่ดี เคลียร์ตัวเองออกมาดีกว่า ไม่เดือดร้อนคนอื่นครับ 

กฎหมายว่าด้วยการอายัดเงินเดือนฉบับล่าสุด

กฎหมายว่าด้วยการอายัดเงินเดือนฉบับล่าสุด ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 ระบุลูกหนี้เงินเดือนไม่เกิน 2 หมื่นบาท บังคับคดีอายัดเงินเดือนไม่ได้            วันที่ 6 กรกฎาคม 2560  เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา   ได้ประกาศพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 โดยมีใจความสำคัญเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี มาตรา 302 ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น เงินหรือสิทธิเรียกร้องเป็นเงินของ ลูกหนี้   ตามคําพิพากษาต่อไปนี้ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี   สำหรับทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี   ประกอบด้วย             1. เบี้ยเลี้ยงชีพซึ่งกฎหมายกําหนดไว้   ส่วนเงินรายได้เป็นคราว ๆ ซึ่งบุคคลภายนอกได้ยกให้เพื่อเลี้ยงชีพนั้น ให้มีจํานวนไม่เกินเดือนละ 20,000 บาท หรือตามจํานวนที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร             2. เงินเดือน ค่าจ้าง บํานาญ บําเหน็จ เบี้ยหวัด   หรือรายได้อื่นในลักษณะเดียวกันของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ หรือลูกจ้า