ตัวอย่างการคำนวณภาษ๊ ลดหย่อนจากประกันชีวิต
ตัวอย่างที่ 3 นาย ก. มีเงินได้มีเงินได้ทุกประเภทภาษีรวมทั้งปีเท่ากับ
3,400,000 บาท ได้ซื้อประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ของตนเองไว้รวมปีละ 60,000
บาท ได้ซื้อประกันชีวิตแบบบำนาญไว้ 300,000 บาท และซื้อหน่วยลงทุน RMF
ไว้ในปีเดียวกันถึง 360,000 บาท นาย ก.
สามารถหักลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญได้ดังนี้
(1) คำนวณยอดการใช้สิทธิหักไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้ แล้วพักไว้มีเงินได้ทั้งปี 3,400,000 บาท ไม่เกินร้อยละ 15 มีเพดานสูงสุดเท่ากับ = 3,400,000 X 15% = ไม่เกิน 510,000 บาท
(2) นาย ก. จ่ายเบี้ยประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ 60,000 บาท ให้นำเบี้ยประกันไปใช้สิทธิหักเบี้ยประกันชีวิตปกติก่อน 60,000 บาท คงเหลืออีก 40,000 บาท (100,000 - 60,000 = 40,000 ) จึงนำเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญมาใช้สิทธิให้ครบ 100,000 บาท
(3) นาย ก. จ่ายเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ 300,000 บาท คงเหลืออีก 260,000 บาท (300,000 - 40,000) นำมาเปรียบเทียบกับตาม 1. พบว่าไม่เกิน จึงสามารถใช้สิทธิหักเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญได้เต็ม 200,000 บาท
(4) นำเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ 200,000 บาท ไปรวมกับเงินค่าซื้อหน่วยลงทุน RMF 360,000 บาท = 560,000 (200,000 + 360,000) ต้องไม่เกิน 500,000 บาท พบว่า เกินวงเงินที่สามารถหักได้รวม 60,000 บาท (560,000 - 500,000 = 60,000)
(5) นำสิทธิที่สามารถหักเบี้ยประกันแบบบำนาญตาม 3. 200,000 บาท มาหักกับวงเงินที่เกินสิทธิหักได้ 60,000 บาท คงเหลือสิทธิที่หักได้จริง 140,000 บาท (200,000 – 60,000 = 140,000 บาท )
นาย ก. สามารถหักลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญได้ 180,000 บาท โดยนำไปหักลดหย่อนในส่วนของเงินประกันชีวิตปกติ 40,000 บาท รวมกับเบี้ยประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ 60,000 บาท รวมเป็นเบี้ยประกันชีวิตปกติ 100,000 บาท และในส่วนของเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญอีก 140,000 บาท
(1) คำนวณยอดการใช้สิทธิหักไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้ แล้วพักไว้มีเงินได้ทั้งปี 3,400,000 บาท ไม่เกินร้อยละ 15 มีเพดานสูงสุดเท่ากับ = 3,400,000 X 15% = ไม่เกิน 510,000 บาท
(2) นาย ก. จ่ายเบี้ยประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ 60,000 บาท ให้นำเบี้ยประกันไปใช้สิทธิหักเบี้ยประกันชีวิตปกติก่อน 60,000 บาท คงเหลืออีก 40,000 บาท (100,000 - 60,000 = 40,000 ) จึงนำเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญมาใช้สิทธิให้ครบ 100,000 บาท
(3) นาย ก. จ่ายเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ 300,000 บาท คงเหลืออีก 260,000 บาท (300,000 - 40,000) นำมาเปรียบเทียบกับตาม 1. พบว่าไม่เกิน จึงสามารถใช้สิทธิหักเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญได้เต็ม 200,000 บาท
(4) นำเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ 200,000 บาท ไปรวมกับเงินค่าซื้อหน่วยลงทุน RMF 360,000 บาท = 560,000 (200,000 + 360,000) ต้องไม่เกิน 500,000 บาท พบว่า เกินวงเงินที่สามารถหักได้รวม 60,000 บาท (560,000 - 500,000 = 60,000)
(5) นำสิทธิที่สามารถหักเบี้ยประกันแบบบำนาญตาม 3. 200,000 บาท มาหักกับวงเงินที่เกินสิทธิหักได้ 60,000 บาท คงเหลือสิทธิที่หักได้จริง 140,000 บาท (200,000 – 60,000 = 140,000 บาท )
นาย ก. สามารถหักลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญได้ 180,000 บาท โดยนำไปหักลดหย่อนในส่วนของเงินประกันชีวิตปกติ 40,000 บาท รวมกับเบี้ยประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ 60,000 บาท รวมเป็นเบี้ยประกันชีวิตปกติ 100,000 บาท และในส่วนของเบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญอีก 140,000 บาท
ความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
ตอบลบ